การ พยาบาล Early Ambulation

5% การเตรียมมารดาเพื่อทำ C/S ประเมินสภาพมารดาและทารก - ประวัติการฝากครรภ์ - การตรวจร่างกายมารดา และการประเมินสภาพ - การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ผล HbsAG, Anti HIV, Hct, Blood group, Clothing time, Blood group matching 2. การเตรียมความสะอาดด้านร่างกาย: Skin preparation, NPO, S. S. E, Retained Foley, s cath 3.

Score

ตรวจดูความเรียบร้อยของรายงานผู้ป่วย ตลอดจนผลการตรวจต่างๆ ตามแผนการรักษา 6. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาก่อนระงับความรู้สึก(pre-medication) 7. แนะนำให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะก่อนย้ายไปห้องผ่าตัด เพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่างในรายที่ไม่ได้สวนปัสสาวะสำหรับผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะไว้ให้ตวงปัสสาวะและเททิ้งพร้อมกับบันทึกในรายงานการพยาบาล 8. ช่วยเคลื่อนย้ายผู้ป่วยขึ้นเปลเข็นของห้องผ่าตัดเมื่อพนักงานเปลมารับผู้ป่วย และเตรียมของใช้ต่างๆให้ครบ พร้อมลงบันทึกลงในสมุดสิ่งส่งมอบทุกครั้ง 9. เตรียมเตียงของผู้ป่วยให้อยู่ในสภาพที่พร้อมจะรับผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด โดยทำเตียงแบบ Anesthetic bed และควรมีการปูผ้ายางขวางเตียงตรงกับบริเวณแผลผ่าตัดผู้ป่วยด้วย รวมทั้งเตรียมผ่าห่ม เพื่อให้ความอบอุ่นแก่ผู้ป่วยหลังทำการผ่าตัด ซึ่งจะมักรู้สึกหนาว นอกจากนี้ควรเตรียมของให้ที่จำเป็น เช่น เสา สาแหรกแขวนสารละลายที่ให้ทางหลอดเลือดดำ เครื่องดูดเสมหะพร้อมกับขวดน้ำยา เครื่องดูดชนิดต่างๆ ตามความจำเป็นที่จะต้องใช้กับผู้ป่วย

การเตรียมและดูแลผู้ป่วยโดยทั่วไปก่อนรับการผ่าตัด 1. ซักถามหรือสอบถามข้อมูลต่างๆ ตลอดจนการสังเกตอาการต่างๆ ของผู้ป่วยให้ถูกต้องและชัดเจน และควรซักถามจาญาติผู้ป่วยเพิ่มเติม 2. แนะนำหรือปฐมนิเทศให้ผู้ป่วยรู้จักสถานที่ สิ่งแวดล้อมต่างๆในหอผู้ป่วย 3. ประเมินค่าสัญญาณชีพ(vital signs) ชั่งน้ำหนัก 4. เก็บ Specimens ส่งตรวจทางห้องทดลองตามแผนการรักษา 5. ให้ผู้ป่วยเซ็นชื่อยินยอมรับการรักษาโดยการผ่าตัดตามแบบฟอร์มที่กำหนดไว้ในแต่ละโรงพยาบาล พร้อมทั้งมีพยานเซ็นชื่อกำกับไว้ด้วย 5. 1 ผู้ป่วยซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ สามารถเซ็นยินยอมได้ หากไม่บรรลุนิติภาวะแต่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป มีสติสัมปะชัญญะดี สามารถเซ็นใบยินยอมผ่าตัดได้ด้วยตนเองได้ 5. 2 ผู้ป่วยที่มีสุขภาพจิตที่ไม่สมบูรณ์ต้องให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองตามกฎหมายเป็นผู้เซ็นใบยินยอม 5. 3 ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บสาหัสและไม่รู้สึกตัว ไม่สามารถตามผู้ปกครองมาเซ็นใบยินยอมผ่าตัดและศัลยแพทย์ต้องรีบผ่าตัดเร่งด่วนเพื่อช่วยชีวิต ต้องให้ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบเป็นผู้เซ็นใบยินยอม 5. 4 ในกรณีผู้ป่วยหรือผู้ปกครองไม่สามารถเขียนหนังสือได้ ให้พิมพ์ลายนิ้วหัวแม่มือข้างขวาของผู้นั้น และให้เขียนกำกับตรงลายพิมพ์ว่า "ลายพิมพ์นิ้วหัวแม่มือขวาของผู้ป่วยหรือผู้ปกครองของผู้ป่วยนั้น" และให้พยานลงชื่อกำกับ 6.

แนะนำให้ผู้ป่วยงดสูบบุหรี่ในรายที่มีประวัติสูบบุหรี่ สำหรับผู้ป่วยที่รอเข้ารับการผ่าตัดชนิดรอได้ 7. รายงานแพทย์ทราบเมื่อประเมินสภาพผู้ป่วยแล้วพบว่า ผู้ป่วยมีประวัติดื่มสุราเรื้อรัง หรือติดยาเสพติด 8. อธิบายถึงการการเตรียมตัวผู้ป่วยให้ถูกต้อง 8. 1 การเตรียมผิวหนังก่อนการผ่าตัด 8. 2 การเตรียมลำไส้ก่อนการผ่าตัด 8. 3 การให้ยากล่อมประสาท 8. 4 การงดน้ำและอาหารก่อนการผ่าตัดอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง 8. 5 การให้ยาก่อนระงับความรู้สึกก่อนการผ่าตัด 9. สอนและแนะนำการออกกำลังกายบนเตียง 9. 1 การหายใจเข้าเต็มที่ช้าๆ และการหายใจออกยาวๆ 9. 2 การออกกำลังขาทั้งสองข้างขณะพักอยู่บนเตียง 9. 3 การพลิกตัวตะแคงซ้ายหรือขวา 10. การแนะนำให้ผู้ป่วยเกี่ยวกับการลุกเดินโดยเร็ว (Early ambulation) 11. ดูแลการได้รับสารอาหาร น้ำและอิเล็คโตรไลท์ บางรายที่มีภาวะโลหิตจางแพทย์มักให้เลือดทดแทน สำหรับผู้ป่วยที่รับประทานอาหารได้ก่อนการผ่าตัด พยาบาลดูแลให้ได้รับอาหารแคลอรี่สูง โปรตีน วิตามิน และเกลือแร่สูง 12. บันทึกจำนวนน้ำที่ได้รับและที่ขับถ่ายออกแต่ละวันให้ถูกต้องแน่นอน เพื่อความสมดุลของน้ำในร่างกาย 13. ชั่งน้ำหนักทุกวันตามแผนการรักษาของแพทย์ 14.

F: เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดสมอง วัตถุประสงค์ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด กิจกรรมการพยาบาล 1. ประเมินและบันทึกอาการ อาการแสดง และลักษณะทางคลินิก ดังต่อไปนี้ 1. 1ประเมินทางระบบประสาท (neurological signs) ได้แก่ Glasgow coma scale รูม่านตา motor power ลักษณะการหายใจ และประเมินสัญญาณชีพ 1. 2ประเมินลักษณะ สี จำนวน content ที่ออกมาจากท่อระบายซึ่งอาจเป็น ventriculostomy drain หรือ vacuum drain 2. ส่งเสริมการเคลื่อนไหว (mobility) โดย 2. 1กระตุ้นให้มีการพลิกตะแคงตัว (ถ้าไม่มีข้อห้าม) 2. 2กระตุ้นให้มี early ambulation ในกรณีหลังผ่าตัดใหม่ๆ ต้องระวังภาวะ postural hypotension ที่อาจเกิดกับผู้ป่วยได้ ควรไขหัวเตียง จัดให้นอนศีรษะสูงก่อนในระยะแรกก่อนที่จะให้ผู้ป่วยลงยืนข้างเตียง 3. ลดแรงดันในกะโหลกศีรษะ (decreased intracranial pressure) 3. 1จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 30 องศา ศีรษะและลำคออยู่ในแนวตั้งตรง 3. 2ควรวางแผนในการทำกิจกรรมการพยาบาลให้กับผู้ป่วย โดยให้ผู้ป่วยได้พักบ้าง 3. 3หลีกเลี่ยงการกระตุ้นให้ผู้ป่วยไอ หรืออาเจียน 3. 4ดูดเสมหะเท่าที่จำเป็น และควรปฏิบัติอย่างระมัดระวังและนุ่มนวล 4. ดูแลด้านความปลอดภัยในแก่ผู้ป่วย 4.

Images

005 หรือน้อยกว่า การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ประเมินจากค่า serum osmolality, serum sodium, urine levels of sodium ถ้ามีภาวะเบาจืด สิ่งที่ตรวจพบ คือ ปัสสาวะออกมากกว่า 4 มล. /กก. /ชม. ร่วมกับ serum osmolality สูง urine osmolality ต่ำ วิธีการรักษา คือ ให้สารน้ำทดแทนและให้ฮอร์โมนต้านการขับถ่ายปัสสาวะ ทดแทน ได้แก่ demopressin (DDAVP) หรือ minirin ซึ่งให้ได้ทั้งทางหลอดเลือดดำหรือพ่นทางจมูก เอกสารอ้างอิง: เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, & นภาพร วาณิชย์กุล. (2553). สาระหลักทางการพยาบาลศัลยศาสตร์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วัฒนาการพิมพ์. สุจิตรา ลิ้มอำนวยลาภ, การญจนา สิมาจารึก & เพลินตา ศิริปการ. (บรรณาธิการ). (2556). การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ในระยะวิกฤต. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.

การ พยาบาล early ambulation stage

: ขอบคุณแหล่งข้อมูล: หนังสือพิมพ์แนวหน้า วันอังคาร ที่ 8 มิถุนายน พ. ศ. 2564, 09. 00 น. 8 มิ. ย.

การ พยาบาล early ambulation photos
  • ศาสนา ของ ลาว
  • เห็นแล้วยิ้มตาม! พยาบาลฟื้นฟูสภาพร่างกายผู้ป่วยโควิดก่อนกลับบ้าน | แนวหน้า | LINE TODAY
  • การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (Caesarean section) > Blog: A Rai Naa >>>
  • การ พยาบาล early ambulation stage
  • การ พยาบาล early ambulation symptoms