ระบบ Ghs และ Nfpa, ระบบ Ghs และ Napa Valley

อนุสรณ์โปรดักส์ บริษัท เคมแคร์ เอเชีย คอนซัลแทนซ์ (Chemcare Asia Consultants) กรมโรงงานอุตสาหกรรม. การจำแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก (Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals - GHS). 2548.

  1. คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1

คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1

ระบบ EEC ตามข้อกำหนดของประชาคมยุโรป ที่ 67/548/EEC สัญลักษณ์แสดงอันตรายจะแบ่งออกตามประเภทของอันตราย โดยใช้รูปภาพสีดำเป็นสัญลักษณ์แสดงอันตรายบนพื้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีส้ม และมีอักษรย่อกำกับที่มุมขวา ซึ่งสัญลักษณ์เหล่านี้ปรากฎอยู่ที่ฉลากของสารเคมีที่ใช้ในสหภาพยุโรป สัญลักษณ์ดังกล่าวแสดงดังตารางที่ 1 4.

10 บทที่ 1 | ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี เล่ม 1 แนวการจัดการเรียนรู้ 1.

ครูอธิบายเกี่ยวกับข้อมูลบนฉลากของสารเคมีว่าส่วนมากประกอบด้วยชื่อผลิตภัณฑ์ รูปสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตราย คำ�เตือน ข้อมูลความเป็นอันตราย ข้อควรระวัง และข้อมูลบริษัท ผู้ผลิตสารเคมี และสัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมีในระบบ Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS) ซึ่งเป็นระบบที่ใช้สากล และ National Fire Protection Association Hazard Identification System (NFPA) ซึ่งเป็นระบบ ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา โดยยกตัวอย่างฉลากสารเคมี ดังรูป 1. 1 ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน ได้แก่ กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น (HCl) แอมโมเนีย (NH 3) โดยชี้ประเด็นให้นักเรียนเห็นว่ารายละเอียดของ ข้อมูลมีองค์ประกอบส่วนใหญ่คล้ายคลึงกัน แต่ตำ�แหน่งของข้อมูลต่าง ๆ บนฉลากอาจต่างกัน 3. ครูอธิบายเกี่ยวกับสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายในระบบ GHS โดยยกตัวอย่าง สัญลักษณ์ ดังรูป 1. 2 จากนั้นครูให้นักเรียนพิจารณาฉลากของกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นและแอมโมเนีย ในรูป 1. 1 แล้วตอบคำ�ถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ทั้งนี้ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมด้วยว่าอันตรายจากสารเคมีนั้นมีความเกี่ยวข้องกับปริมาณ ความเข้มข้น และเวลาที่สัมผัสกับสารเคมีด้วย จากฉลากของกรดไฮโดรคลอริกและแอมโมเนีย สารเคมีทั้งสองมีอันตรายตามระบบ GHS อย่างไรบ้าง กรดไฮโดรคลอริกเป็นสารกัดกร่อนและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และแอมโมเนียเป็น สารกัดกร่อน สารไวไฟ และมีอันตรายถึงชีวิต ตรวจสอบความเข้าใจ Made with FlippingBook RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4

  • ระบบ ghs และ nfpa 6
  • ระบบ ghs และ nfpa codes
  • คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1
  • สัญลักษณ์แสดงความอันตรายของสารเคมีมีลักษณะอย่างไร
  • โแ ร แกม มอน ro
  • ระบบ ghs และ nfpa 12
  • ทำ gif จาก youtube to video
สัญลักษณ์เตือนสารเคมีอันตราย เป็นเครื่องหมายสากลที่เข้าใจง่าย อาจใช้สีพื้นหรือข้อความที่แตกต่างกัน เพื่อให้ทราบถึงอันตรายของสารเคมี ซึ่งระบบสัญลักษณ์แสดงอันตรายที่รู้จักและนิยมใช้มีหลายระบบ เช่น ระบบ UN ระบบ NFPA (The National Fire Protection Association) ของสหรัฐอเมริกา ระบบ EEC และระบบ GHS เป็นต้น ซึ่งสัญลักษณ์ของทั้ง 4 ระบบนั้น มีดังนี้ 1. ระบบ UN - United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods ได้จำแนกวัตถุอันตรายออกเป็น 9 ประเภท ตามลักษณะที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือความเสี่ยงในการเกิดอันตราย รวมทั้งกำหนดสัญลักษณ์อันตราย เพื่อใช้ในการขนส่ง ดังนี้ 2. ระบบ NFPA - The National Fire Protection Association ของสหรัฐอเมริกา กำหนดสัญลักษณ์แสดงอันตรายเป็นรูปเพชร (Diamond-shape) เพื่อใช้ในการป้องกันและตอบโต้เหตุเพลิงไหม้ สัญลักษณ์ดังกล่าวมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่วางตั้งตามแนวเส้นทะแยงมุม ภายในแบ่งออกเป็นสี่เหลี่ยมย่อยขนาดเท่ากัน 4 รูป ใช้พื้นที่กำกับ 4 สี ได้แก่ สีแดง แสดงอันตรายจากไฟ (Flammability) สีน้ำเงิน แสดงอันตรายต่อสุขภาพ (Health) สีเหลือง แสดงความไวต่อปฏิกริยาของสาร (Reactivity) สีขาวแสดงคุณสมบัติพิเศษของสาร และใช้ตัวเลข 0 ถึง 4 แสดงถึงระดับอันตราย ดังรูปที่ 1 รูปที่ 1 สัญลักษณ์ของระบบ NFPA 3.
  1. มจร หนองคาย
  2. โรงแรม เกาะ กระดาน png
  3. แบบ แต่ง ห้อง นั่งเล่น
  4. โหลด roblox คอม
  5. Ipad 2 16gb ราคา
  6. ราคา nmd r1 plus
  7. Kds lock ราคา 1
  8. จัด งาน บุญ
  9. เหล็ก แบน 2 นิ้ว หนา 5 ม ม
  10. เรา ชนะ ตรวจ สอบ สิทธิ์ ม 33
  11. เรือนแพ 1 เชียงใหม่
  12. ปอม ผสม ชิ วา วา เท่ากับกี่เมตร
  13. Casetify ลดราคา
  14. เทคนิค การ ซื้อ ที่ดิน ชุมพร
  15. ตลาด ชายแดน ระนอง
  16. How to make a phone case