การ สาน หวาย

3 นำหวายน้ำที่มีขนาดเท่ากับวงกลมวงที่ 1 ตีทับบนขอบวงกลมที่ 1 ตอกตะปูยึดทั้งสองวงกลมจนครบรอบ เสร็จตัวกระจาด 1 ชั้น ต่อไปก็เป็นการ ทำหูจับ 3. 7 การทำหูจับ (มือจับ, หูหิ้ว) 3. 7. 1 ใช้หวายน้ำที่มีขนาดใหญ่พอสมควร มาดัดเป็นรูปโค้ง ใช้ตะปูตอกยึดทั้ง 2 ข้างติดกับฐานตะกร้าและขอบปากตะกร้าโค้งขนาดพอที่จะสอดนิ้ว 4 นิ้ว ได้เป็นหูจับ 3. 2 นำหวายมาทาบบนขอบตะกร้า และหูจับให้โค้งตาม ใช้ตะปูเข็มตอกยึดติดกันไว้โดยรอบ 3. 3 ใช้เส้นหวายรีดพันรอบขอบปากตะกร้าและหูจับ เว้นช่องแต่ละช่องให้ พองามต่อไปก็สานจูงนางเพื่อให้เป็นลวดลายสวยงาม การตกแต่งเพื่อให้เกิดความสวยงาม 1. การทำความสะอาดเมื่อตะกร้าสกปรก มีเชื้อรา ฝุ่นจับ โดยมากชาวบ้านใช้วิธีธรรมชาติ เช่น นำผลมะเฟืองสุกรสเปรี้ยว ถูที่ตัวตะกร้าหรือจะเป็นมะนาวก็ได้ ต่อจากนั้นจึงล้างตากให้แห้งจะได้ตะกร้าที่สะอาด สวยงามตามธรรมชาติ 2. การทาน้ำมัน เพื่อให้ตะกร้ามีเงา ผิวมันสวยเป็นสีไม้ธรรมชาติ และป้องกันเชื้อราได้ด้วย ควรใช้น้ำมันวานิชสีใสเคลือบเงาหรือแลคเกอร์เบอร์ 6 ทาตามวิธีที่กำหนดในกระป๋อง การดูแลรักษาหวาย 1. ผึ่งแดดให้แห้งสนิท 2. ไม่ควรเก็บหวายไว้ในที่ชื้น พื้นซีเมนต์ควรมีอากาศถ่ายเทได้ 3.

กามิกาเซ่

การ สาน หวาย คือ

ยาวประมาณ ๔๐ ซม. หรือกว่านี้ก็ไม่มากนัก เรียกกันโดยทั่วไปว่า มีดโต้ มีดโต้ มีดจักตอก เป็นมีดที่ใช้สำหรับจักตอก มีรูปทรงเรียวแหลม ขนาดเหมาะมือ คมบาง ชาวบ้านนิยมพกเป็นมีดประจำตัวด้วย เหล็กมาด มีสองชนิด เหล็กมาดปลายแหลม และ เหล็กมาดปลายแบน เหล็กมาดปลายแหลม ใช้เจาะร้อยหวาย ส่วนปลายแบนใช้เจาะร้อยตอก คีมไม้ ใช้สำหรับคีบขอบกระจาด กระบุง หรือขอบอื่นๆ เพื่อให้แนบสนิมแล้วค้างไว้ด้วยหวายถักที่ด้ามคีม เพื่อประโยชน์ให้ผู้สานมัดหวายได้แน่น คีมไม้ รูร้อยหวาย ทำด้วยเหล็กเจาะเป็นรูตามขนาดที่ต้องการ ตั้งแต่เล็กไปจนใหญ่ใช้สำหรับนำหวายร้อยเพื่อลบคมหวายและทำให้ทุกเส้นมีขนาดเท่ากัน ที่มา การ จักสาน

ปัญญ์ธิษา

การสานตะกร้าหวาย - YouTube

5 การทำฐาน (ก้นตะกร้า) 3. 5. 1 นำไม้เจลยมาดัดเป็นวงกลมวงที่ 1 เส้นผ่าศูนย์กลาง 28 ซ. ม. หรือตามต้องการใช้ตะปูเข็มตอกยึดเอาไว้ จากนั้นใช้เส้นหวายที่รีดแล้วพันรอบวงกลม โดยพันเว้นช่องแต่พองาม 3. 2 นำหวายน้ำที่มีขนาดเท่ากับวงกลมวงที่ 1 ตีทับวงที่ 1 ใช้ตะปูเข็มตอก แล้วใช้เส้นหวายที่รีดมาพันรอบวงกลมทั้ง 2 วงให้ติดกันจนครบรอบวงกลม 3. 3 ใช้หวายน้ำ 2 เส้น ที่มีขนาดเท่ากับวงกลมวงที่ 1 ใช้ตะปูเข็มตอกยึดรอบวง เพื่อเป็นฐานรองรับก้นตะกร้าให้แข็งแรง 3. 4 นำไม้เจลยจำนวน 8 ท่อน มีขนาดยาวเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลมตะกร้าตีกากะบาท 8 มุมตอกตะปูยึดกับวงกลม 3. 5 ใช้เส้นหวายที่รีดแล้ว สานเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลมคล้ายใยแมงมุม ความกว้างพอประมาณ (5 ซ. ) 3. 6 ใช้หวายหางหนูทั้งต้นที่เลือกไว้มีขนาดเท่ากัน นำมาขดให้เต็มวงกลมคล้ายขดยากันยุงใช้เส้นหวายสานยึดแต่ละเส้นจนครบ สิ้นสุดการทำก้นตะกร้าโดยสมบูรณ์ 3. 1 การผ่าหวาย เลือกหวายผ่าประมาณ 10 ต้น ควรเลือกลำต้นใหญ่กว่าลูกกรง หวาย 1 ต้น ควรผ่าให้ได้อย่างน้อย 4 ส่วน จนสุดลำต้น เทคนิคการผ่ามีดต้องคม ผ่าจากปลายไปหาโคน โดยใช้กำลังมือตั้งมีดตอก และใช้มืออีกข้างดันหวายตามความถนัด บังคับอย่าให้บิดเบี้ยว หวายจะขาดกลางลำ 3.

การสานตะกร้าหวาย - YouTube

ตะกร้อหวาย ชื่อรายการ ตะกร้อหวาย ปีที่ขึ้นทะเบียน พ. ศ. ๒๕๕๖ ภูมิภาค ภาคกลาง สาระสำคัญโดยรวม คำว่า "ตะกร้อ" ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานปี พ.

  • ข้าวโพด กระป๋อง มาลี พฤกษ์พงศาวลี
  • 100 คำถามอะไรเอ่ย จี้ต่อมฮา ปัญหากวนโอ๊ย - YouTube
  • การสานหวาย - GotoKnow
  • การสานหวายบ้านบุทม – แผนที่วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ของกลุ่มชาติพันธุ์์ชายแดนไทย-กัมพูชา
  • การ สาน หวาย คือ
  • ที่กินร้อยเอ็ด - 10 ร้านอร่อยเด็ด มาร้อยเอ็ด ต้องลอง
  • Meta facebook คือ
  • การสานตะกร้าหวาย - YouTube
  • สถาน ที่ สำคัญ ประเทศไทย โทร

ภาษาอังกฤษ

ความยาวตามสิ่งแวดล้อม เช่น อาศัยไม้ที่ปีนป่ายมีความยาวตั้งแต่ 10-20 เมตร อายุการใช้งาน 7-10 ปี หวายมีหลายชนิด ทุกประเภททำจักสาน เฟอร์นิเจอร์ และเป็นอาหาร รวม 23 ชนิด หวายที่ทำจักสานในบ้านบุทมใช้หวาย 3 ชนิด 3. หวายนิ่ม เปลือกสีผิวมันวาวคล้ายหวายตะค้าทอง ลำต้นยาวเสมอ ขนาดเท่ากับหวายน้ำซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 -15 มม. แต่มีลำต้นยาวถึง 10-50 เมตร ขึ้นในป่าดิบ ใช้ทำโครงสร้างงานจักสาน อ่อนนิ่ม ดัดง่าย แก่เนื้อเหนียว รียนรู้การจักสานหวายอย่างง่าย 1. เตรียมเครื่องมือต่าง ๆ (มีดตอก เหล็กแหลม แป้นรีดหวาย ค้อน ไม้ดัดลูกกรง) 2. เตรียมหวายต่าง ๆ และไม้ก้างปลา 2. 1 คัดหวาย เส้นเล็กเอาไว้ทำลูกกรง 2. 2 หวายน้ำ เอาไว้ทำโครงสร้างตะกร้าดัดเป็นรูปทรง 2. 3 ไม้ก้างปลา เอาไว้ทำโครงสร้างรูปทรงต่างๆ 2. 4 นำวัตถุดิบแต่ละอย่างแช่น้ำพอประมาณ (20-30 นาที) ต้องน้ำบ่อ หรือน้ำฝนจึงจะดี 3. ขั้นตอนการผลิต 3. 3 ตีลายลูกกรง ให้นำหวายหางหนูที่แช่น้ำ 10 ต้น มาดัดลูกกรงครั้งละ 2 - 4 ต้นจนครบ 10 ต้น และสุดลำต้น โดยใช้หวายวางทาบบนไม้ดัดลูกกรง และใช้ค้อนทุบเบา ๆ พอให้หวายหักมุม 3. 4 ดัดรูปทรงตะกร้า (กลม, เหลี่ยม, รี และอื่น ๆ) 3.

การ สาน หวาย ปัญญริสา

เตรียมหวายต่าง ๆ และไม้ก้างปลา 2. 1 คัดหวาย เส้นเล็กเอาไว้ทำลูกกรง 2. 2 หวายน้ำ เอาไว้ทำโครงสร้างตะกร้าดัดเป็นรูปทรง 2. 3 ไม้ก้างปลา เอาไว้ทำโครงสร้างรูปทรงต่างๆ 2. 4 นำวัตถุดิบแต่ละอย่างแช่น้ำพอประมาณ (20-30 นาที) ต้องน้ำบ่อ หรือน้ำฝนจึงจะดี 3. ขั้นตอนการผลิต 3. 1 การผ่าหวาย เลือกหวายผ่าประมาณ 10 ต้น ควรเลือกลำต้นใหญ่กว่าลูกกรง หวาย 1 ต้น ควรผ่าให้ได้อย่างน้อย 4 ส่วน จนสุดลำต้น เทคนิคการผ่ามีดต้องคม ผ่าจากปลายไปหาโคน โดยใช้กำลังมือตั้งมีดตอก และใช้มืออีกข้างดันหวายตามความถนัด บังคับอย่าให้บิดเบี้ยว หวายจะขาดกลางลำ 3. 2 รีดหวาย ใช้มีดตอกรีดเอาไส้หวายออกให้เหลือส่วนที่เป็นเปลือกเท่านั้นจากนั้นสอดเข้าไปในรูแป้น รีดหวายทีละเส้น ค่อยๆ ดึงจนสุดเส้นหวาย และควรรีดให้ได้ขนาดเท่ากันเส้นหวายจะได้เป็นระเบียบสวยงาม 3. 3 ตีลายลูกกรง ให้นำหวายหางหนูที่แช่น้ำ 10 ต้น มาดัดลูกกรงครั้งละ 2 – 4 ต้นจนครบ 10 ต้น และสุดลำต้น โดยใช้หวายวางทาบบนไม้ดัดลูกกรง และใช้ค้อนทุบเบา ๆ พอให้หวายหักมุมเท่านั้น 3. 4 ดัดรูปทรงตะกร้า (กลม, เหลี่ยม, รี และอื่น ๆ) 3. 5 การทำฐาน (ก้นตะกร้า) 3. 5. 1 นำไม้เจลยมาดัดเป็นวงกลมวงที่ 1 เส้นผ่าศูนย์กลาง 28 ซ.