โล ภะ โทสะ โมหะ – โลภะ โทสะ โมหะ ใช้อะไรดับ

หน้าหลัก > พจนานุกรมทั้งหมด > แปล ไทย-ไทย อ. เปลื้อง ณ นคร > อกุศลมูล อกุศลมูล อกุศลมูล [อะ-กุ-สน-ละ-มูน] น. รากเหง้าแห่งความชั่ว มี ๓ อย่าง คือ ๑. โลภะ ความอยากได้ ๒. โทสะ ความประทุษร้ายเขา ๓. โมหะ ความเขลา หลง ไม่รู้จริง เมื่อ อกุศลมูล มีอยู่ย่อมพาให้อกุศลอื่นๆ เกิดขึ้น. ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย อ. เปลื้อง ณ นคร อกุศลมูลภาษาอังกฤษ อกุศลมูลภาษาไทย อกุศลมูลความหมาย Dictionary อกุศลมูลแปลว่า อกุศลมูลคำแปล อกุศลมูลคืออะไร ความหมายของ อกุศลมูล จากพจนานุกรมเล่มอื่นๆ

โลภะ โทสะ โมหะ ใช้อะไรดับ

  1. จิตตานุปัสสนา
  2. วิชา พระธรรมดวงแก้ว: พระอิติปิโสรัตนมาลา ๑๐๘
  3. ธรรมสุตตะ: หมวดที่๓ ประเภทของจิต
  4. "วาน้อย"ตอกกลับ เบียร์ The Voice เดี๋ยวเจอของจริง | ThaiNews - ไทยนิวส์ออนไลน์ | LINE TODAY
  5. ซารางเฮโย
  6. ลิเดีย นม

ไม่ได้สร้างสมบุญไว้แต่ปางก่อน เป็นอดีตกรรม ๒. อยู่ในประเทศที่ไม่มีสัปปุรุษ ๓. ไม่คบหาสมาคมกับสัปปุรุษ ๔. ไม่ได้ฟังธรรมของสัปปุรุษ ๕. ตั้งตนไว้ผิด

โลภะ โทสะ โมหะ (อ่านประกอบไซอิ๋ว)

นี่แหละท่านทั้งหลาย ทั้งผู้ชายและนารี ฟังแล้วเร่งยินดี จงชื่นชมสมมนา…….. ที่ได้เกิดเป็นคน และรอดพ้นจากตายมา ได้ฟังเทศนา ของพระพุทธอรหันต์…….. เป็นลาภอันประเสริฐ แสนล้ำเลิศอนันต์ครัน อย่าหลงคิดสำคัญ ว่าเกิดง่ายหมายผิดครัน ฯลฯ….

โลภะ โทสะ โมหะ คือ

โลกนั้นมักพร่องอยู่ จึงไม่รู้เบื่อเบือนไป เพราะมันไม่เป็นไทย มันเป็นธาตุแห่งดับ…….. ควรท่านผู้เป็นปราชญ์ ผู้ฉลาดซึ่งปัญญา เร่งคิดพิจารณา ให้เห็นแท้เป็นแน่นอน……. อย่าฟังแต่เสียงเพราะ และเสนาะด้วยคำกลอน จงฟังคำสอน แล้วตริตรึกระลึกตาม ฯลฯ……. อิจจานุรุท ธระจิตเต อภิธัมมัต ถสังคเห อัฏฐโม ปริจเฉโทยัง สมาเสเน วนิฏฐิโต ฯลฯ สมากวี ปัสสะนานัง ภวนานะ มิโตปะรัง กัมมัตถานัง ปวักขามิ ทุวิธังปิ ยถากกะมัง เยนะเยนู ปกะเลสา สมันติวู ปสมันติหิ โสตวูปะ สโมปาโย สะมะโถติ ปวุจจะติ กสินาสุ ภานุสติ ทสทาทะ สธาฐตา จจัตโสอัป ปมันยาโย สันเยกาหา วนิสีตา เอกันเจวะ วัตถานาปิ อารูปาจะ ตุโรอิติ สัตตะทาสะ มถะกัมมัต ถานัตสตา วสังคโห ราโคโทโส จะโมโหจะ สัทธาอิตัก กพุทธิโย อิเมสังฉัน นังธัมมานัง วสาจาริ คสังคโห ฯลฯ ความไม่เมาทั่วไป คือแจ้งในกองสังขาร ไม่เมาไม่ทะยาน ในรูปรสแลกลิ่นเสียง….. เป็นทางบทจร สู่อมรนิเวศน์เวียง มัตยุราชหรืออาจเมียง และจะมองบ่แลเห็น……. ความทั่วไปนั้น คือใฝ่ฝันทุกเช้าเย็น เมายิ่งในสิ่งเบ็ญ- จกามะคณารมณ์…….. เป็นทางจะก้าวสู่ มรึตตะยูประสบสม ความตายตามระดม ติดตามปรับชีวาวาย……. นรชาติทั้งหลายใด ผู้มีใจเองเมามาย แม้ชีพบ่ทำลาย ประดุจม้วยซึ่งชีวี…….. นี่แหละท่านทั้งหลาย คณาชายหมู่สตรี ฟังแล้วจงได้มี กมลมุ่งกำหนดจำ…… ……………….. สังคหะ(สงเคราะห์)จบบริบูรณ์……………….

จิตตานุปัสสนา (นำ) หันทะ มะยัง จิตตานุปัสสะนาปาฐัง ภะณามะ เส ฯ (รับ) กะถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ เป็นอย่างไรเล่า?

โลภะ โทสะ โมหะ หมายถึง

โลภะ โทสะ โมหะ พุทธวจน

โมหะ เป็นความหลง หรือธรรมชาติที่ปิดความจริงของอารมณ์ 2. อหิริกะ เป็นธรรมชาติที่ไม่ละอายในการทำผิดทางกาย วาจา ใจ หรือบาป 3. อโนตตัปปะ เป็นธรรมชาติที่ไม่กลัวเกรงต่อผลของบาป 4. อุทธัจจะ เป็นความฟุ้งซ่านหรือธรรมชาติที่จับอารมณ์ไม่มั่น

โลภะ โทสะ โมหะ พุทธวจน

โลภะ โทสะ โมหะ

วิชา พระธรรมดวงแก้ว: พระอิติปิโสรัตนมาลา ๑๐๘

โลภะ ๒. โทสะ ๓. โมหะ
- จรณเดช คือ ศีล ซึ่งเป็น ความประพฤติเป็นไปที่ดี เป็นเดชที่เผาผลาญความเป็นผู้ทุศีล คุณเดช (ความ สงบแห่งจิต) เป็นเดชที่เผาผลาญความฟุ้งซ่านความไม่สงบแห่งจิต ปัญญาเดช เป็นเดชที่เผาผลาญอวิชชา (ความไม่รู้) ปุญญเดช (อริยมรรค) เป็นเดชที่เผา ผลาญกิเลสอกุศลธรรมทั้งหลาย และที่สำคัญ ธรรมเดช ได้แก่ พระพุทธพจน์ [24] พระธรรมคำสอนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง เป็นเดชที่เผาผลาญความ เห็นที่ผิด เผาผลาญลัทธิความเชื่อถือต่างๆ ธรรมเดช เป็นเดชที่สำคัญ เป็นหลักแห่งเดช ๔ ข้างต้น เกื้อกูลให้เดช ๔ อย่างข้างต้นเจริญยิ่งขึ้น [25] มี อุปนิสัยการฟังพระธรรม กับ อุปนิสัยการไม่ฟังพระธรรม ควรที่จะสะสมอย่างไหน?

โทสะ เป็นธรรมชาติที่ประทุษร้ายหรือความโกรธ 2. อิสสา เป็นธรรมชาติที่ไม่พอใจในคุณสมบัติหรือคุณความดีของผู้อื่น หรือความ อิจฉา 3. มัจฉริยะ เป็นธรรมชาติที่หวงแหนในสมบัติและคุณความดีของตนหรือความตระหนี่ 4. กุกกุจจะ เป็นธรรมชาติที่รำคานใจในความชั่วที่ได้ทำแล้วและรำคานใจหรือร้อนใจทียังไม่ได้ทำความดี *** มัจฉริยะ 5 คือความตระหนี่, ความหวง, ความคิดกีดกันไม่ให้ผู้อื่นไดดี หรือมีส่วนร่วม 1. อาวาสมัจฉริยะ คือตระหนี่ที่อยู่, หวงที่อาศัย 2. กุลมัจฉริยะ คือตระหนี่ตระกูล, หวงสกุล 3. ลาภมัจฉริยะ คือตระหนี่ลาภ, หวงผลประโยชน์ 4. วัณณมัจฉริยะ คือตระหนี่วรรณะ, หวงสรีรวัณณะ คือผิวพรรณของร่างกาย หวงคุณ วัณณะ คือ คำสรรเสริญคุณ ไม่อยากให้ใครมีคุณความดีมาแข่งตน ไม่พอใจได้ยินคำสรรเสริญผู้อื่น แบ่งชั้นวรรณะกัน 5. ธัมมมัจฉริยะ คือตระหนี่ธรรม, หวงวิชาความรู้ และคุณพิเศษที่ได้บรรลุ โมหะ แปลว่า ความหลง ความเขลา ความโง่ ความไม่รู้ตามที่เป็นจริง เกิดจากความคิดเห็นที่ผิด จากการไม่ใช้ปัญญาพิจารณาให้ประจักษ์ในเรื่องนั้นๆ ให้ถ่องแท้ถี่ถ้วนก่อน เมื่อเกิดขึ้นแล้วก็เป็นเหตุให้ไม่รู้บุญไม่รู้บาป ไม่เชื่อบุญไม่เชื่อบาป ชักนำให้ไปทำความชั่วความไม่ดีต่างๆ เช่น ประมาท ทะเลาะวิวาท แก่งแย่งชิงดี อวดดี เกียจคร้าน บ้ากาม อกตัญญู เชื่อง่าย หูเบา โมหะ กำจัดได้ด้วย ปัญญา คือใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นประจักษ์ในสิ่งนั้นๆ กลุ่มโมหะ ธรรมฝ่ายชั่วนี้มี 4 อย่าง คือ 1.

  1. ทําผมสีชมพู
  2. ขทล
  3. House party สูตร 2017
  4. หน้าต่าง พร้อม วงกบ
  5. ไอ แคร์ คือ อะไร
  6. หนัง mechanic resurrection free
  7. หา งาน qc engineer general
  8. บ้าน ปูน เล็ก ๆ คอร์ด
  9. Atta lakeside resort โทร
  10. อยาก ผม หนา ๆ
  11. ซิงค์ ล้าง จาน พลาสติก pp
  12. Iphone 12 ลดราคา inch
  13. ข้อสอบเข้าเตรียมอุดม คณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย pdf
  14. แบบเทคานคอดิน
  15. แจก เกม raft โปร iphone