แอร์ ชนิด ต่างๆ

6 เป็น EER 11 ซึ่งสามารถลดการใช้ไฟฟ้าได้ประมาณ ร้อยละ 5 โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่ มกราคม 2549 เป็นต้นมา แอร์เบอร์ 5 คุ้มค่ากว่า ตารางเปรียบเทียบ แอร์เบอร์5 กับ แอร์ มอก. 2134-2545 ขนาด เปรียบเทียบประสิทธิภาพ (บีทียู/ชั่วโมง/วัตต์) ผลการประหยัดที่ได้ต่อปี บีทียู/ชม. ตันความเย็น เบอร์ 5 มอก. 2134-2545 หน่วย (kWh) ประมาณ บาท 12, 000 1 12. 24 9. 6 787. 25 2, 582. 20 18, 000 1. 5 11. 84 1, 035. 81 3, 397. 46 24, 000 2 11. 76 1, 340. 82 4, 397. 88 28, 000 2. 33 11. 50 8. 9 2. 397. 41 7, 863. 51 หมายเหตุ: มอก. 2134-2545 คือ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศสำหรับห้อง เฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม: ประสิทธิภาพพลังงาน ให้เครื่องปรับอากาศใช้งาน 8 ชั่วโมง/วัน ค่าพลังงานไฟฟ้าต่อหน่วย = 3. 28 บาท / หน่วย ประสิทธิภาพ Energy Efficiency Ratio (EER) EER = ขีดความสามารถทำความเย็นของเครื่่องปรับอากาศ (BTU/Hr) (หารด้วย) จำนวนกำลังไฟฟ้าที่เครื่องใช้ (Watt) = 12, 000 BTU/Hr(หารด้วย) 1, 000 Watt 12 BTU/ชั่วโมง/วัตต์

ของรถยนต์ isuzu

  1. แอร์ แคเรียร์ Carrier ชนิดติดผนัง ระบบอินเวอร์ทเตอร์ COPPER10 ประหยัดไฟมากน้ำยา R32
  2. แอร์ ชนิด ต่างๆ นานา
  3. ช็อก! "บรูซ วิลลิส" เลิกอาชีพนักแสดง เหตุป่วยอาเฟเซีย (Aphasia)
  4. แอร์ ชนิด ต่างๆ พร้อม
  5. Gta v ใน คอม
  6. แอร์ ชนิด ต่างๆ ของ
  7. ขาย i house rca
  8. ผล เลือกตั้ง ล่าสุด สด
  9. แอร์ ชนิด ต่างๆ ใน
  10. ชุดแหวนลูกสูบ(ยี่ห้อ RIK) ริกเก้น Komatsu - เครอป อะไหล์ยนต์ ศูนย์เบิกอะไหล่รถยนต์-คอมแอร์รถยนต์ (ญี่ปุ่น-ยุโรป) สินค้าคุณภาพมีประกันบริษัท : Inspired by LnwShop.com
  11. ความแตกต่างของน้ำยาแอร์ R32,R410A และ R22 แตกต่างกันอย่างไร?
  12. แอร์ ชนิด ต่างๆ ภาษาอังกฤษ

ระบบหมุนเวียนอากาศสำหรับระบบปรับอากาศแบบไม่มีท่อส่งลม ระบบนี้ใช้เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนในพื้นที่ปรับอากาศ โดยอากาศในพื้นที่จะถูกพัดลมดูดหมุนเวียนไปยังคอยล์เย็นแล้วส่งกลับไปที่ห้องปรับอากาศอีกครั้ง มีการระบายอากาศโดยพัดลมดูดอากาศที่ทำหน้าที่ดูดอากาศออกไปทิ้งยังภายนอก และเติมอากาศใหม่โดยอาศัยการแทรกซึมของอากาศตามช่องลม ขอบหน้าต่าง หรือขอบใต้ประตู 2.

น้ำยาแอร์/น้ำยาล้างระบบ/น้ำมันคอมเพรสเซอร์ สารทำความเย็น | จำหน่ายน้ำยาแอร์ทุกประเภท | Air Con Parts Service

หลายๆท่านที่เป็นช่างแอร์ก็คงจะต้องเติม น้ำยาแอร์ กันประจำอยู่แล้วใช่ไหมละครับ แต่รู้ไหมว่า น้ำยาแอร์หรือสารทำความเย็น ที่เบอร์ต่างๆเติมกันมันมีกันอยู่กี่ชนิดกันแน่แล้วแต่ละชนิดเนี่ยมีคุณสมบัติแตกต่างกันอย่างไรวันนี้เราจะพาไปรู้จักชนิดน้ำยาแอร์กันครับ โดยหลักๆแล้วเนี่ย น้ำยาแอร์ ที่เราใช้กันในประเทศไทยจะแบ่งได้หลักๆเลย 3 ชนิดครับได้แก่ 1. น้ำยาแอร์หรือสารทำความเย็นชนิด R22 เป็นสารทำความเย็นรุ่นเก่าที่ที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน นิยมนำมาใช้กับแอร์บ้านทั่วไป โดยมีข้อดีที่ราคาถูกกว่า น้ำยาแอร์ ชนิดอื่น แต่มีข้อเสียที่ร้ายแรงคือ ส่งผลต่อการทำลายชั้นโอโซน ทำให้กิดภาวะเรือนกระจก และหากรั่วออกมาสู่อากาศจำนวนมากจะส่งผลอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ ซึ่งมีค่า ODP (ดัชนีวัดการทำลายโอโซน) = 0. 05 ค่า, GWP(ดัชนีชี้วัดผลกระทบภาวะโลกร้อน) = 1810 และมีค่า Cooling Capacity(ประสิทธิภาพการทำความเย็น) = 100 2. น้ำยาแอร์หรือสารทำความเย็นชนิด R32 เป็น สารทำความเย็น ที่ถูกพัฒนามาเพื่อทดแทนชนิด R22 โดยมีข้อดีที่มีค่า ODP ที่ต่ำกว่า สารทำความเย็น ชนิด R22 จึงทำให้ ไม่ทำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ แต่ข้อเสียก็คือราคาจะแพงกว่าสารทำความเย็นชนิด R22 และถึงแม้ว่าจะไม่ทำลายชั้นโอโซนแต่ก็ยังส่งผลต่อ ภาวะเรือนกระจกอยู่ซึ่งมีค่า ODP (ดัชนีวัดการทำลายโอโซน) = 0 ค่า, GWP(ดัชนีชี้วัดผลกระทบภาวะโลกร้อน) = 675 และมีค่า Cooling Capacity(ประสิทธิภาพการทำความเย็น) = 160 3.

กรมสรรพสามิต

46 น้ำมันคอมเพรสเซอร์ VITOR No. 68 น้ำมันคอมเพรสเซอร์ UNIGA สำหรับคอมเพรสเซอร์ที่ใช้ร่วมกับน้ำยาแอร์ R134a รายชื่อและรุ่นสินค้า น้ำยาล้างระบบ น้ำยาล้างระบบ F-9000 Plus BLUE PLANET น้ำยาล้างคอนเดนเซอร์ DE-SCALER CB น้ำยาล้างแอร์ DE-SCALER F-2 น้ำยาล้างระบบ R-141B (จำหน่ายบรรจุพร้อมถัง) น้ำยาล้างระบบ F-11 (แบบขวด) น้ำยาล้างคอยล์แอร์ (แบบขวด)

การแก้ไขเมื่อน้ำยารั่ว กรณีที่น้ำยารั่ว หากเป็น น้ำยาแอร์ R22 และ น้ำยาแอร์R32 จะแก้ไขได้ไม่ยาก เพราะสามารถเติมน้ำยาแอร์เพิ่มเติมลงไปได้ทันที แต่กรณีที่เป็น น้ำยาแอร์ชนิด R410A จะต้องทำการถ่ายน้ำยาเก่าทิ้งให้เป็นศูนย์ก่อน แล้วจึงจะสามารถเติมน้ำยาเพิ่มเติมลงไปได้ นั่นก็เพราะน้ำยาแอร์ R410A เป็นสารผสม ในขณะที่ R22 และ R32 เป็นสารเชิงเดี่ยวนั่นเอง ดังนั้นคนส่วนใหญ่จึงหันมาใช้ น้ำยาแอร์ R32 กันมากขึ้น เพื่อลดความยุ่งยากเมื่อเกิดปัญหาน้ำยารั่ว 4. ระดับความดัน สำหรับระดับความดันของ น้ำยาแอร์ ทั้ง 3 ชนิด พบว่าชนิด R32 และ R410A มีความใกล้เคียงกันมากที่สุด จึงสามารถใช้เครื่องมือในการติดตั้งและซ่อมแซมร่วมกันได้ ในขณะที่ น้ำยา R22 มีระดับความดันที่ต่ำกว่ามาก ทำให้ต้องใช้เครื่องมือเฉพาะโดยตรง ซึ่งหากเครื่องมือขาดตลาดก็ไม่สามารถติดตั้งหรือซ่อมแซมได้ 5. จุดเดือดของน้ำยา น้ำยาแอร์ชนิด R32 มีจุดเดือดต่ำที่สุดในบรรดาน้ำยาทั้งหมด จึงทำให้คอมเพรสเซอร์สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทำความเย็นได้ดีกว่าน้ำยาแอร์อีก 2 ชนิด เนื่องจากน้ำยา R22 และ R410A มีจุดเดือดที่สูงกว่าทำให้เกิดความเย็นได้ยากและช้ากว่านั่นเอง และนี่ก็คือ ความแตกต่างระหว่างน้ำยาแอร์ R32, R22 และ R410A จึงเป็นเหตุผลหนึ่งว่าทำไมคนส่วนใหญ่จึงหันมาใช้น้ำยา R32 กันมากขึ้น เพราะฉะนั้นลองเปลี่ยนมาใช้น้ำยา R32 กันดู แล้วจะเห็นได้ถึงความแตกต่าง credit: